Category: Performing Art Review & Article

บัวสาย เรืองนนท์ แห่งคณะเรืองนนท์นาฏศิลป์

หากจะเอ่ยถึง ความแท้ ของ วัฒนธรรม ในยุคสมัยนี้จะมีสักกี่สิ่งอย่างที่ยังหลงเหลือ ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมในรูปแบบอาหาร ประเพณี การละเล่น การแสดงต่างๆ ทั้ง Tangible และIntangibal ทุกอย่างถูกเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง ผสมผสาน นำมาผลิตซ้ำสร้างใหม่

พิธีไหว้ ครูนาฎศิลป์

การไหว้ครู นับเป็นวัฒนธรรมไทยแบบหนึ่ง เป็นขนบธรรมเนียมอันดีงามในส่วนที่เกี่ยวกับกิริยามายาท สัมมาคารวะ และมีส่วนที่จะโน้มน้าวจิตใจมนุษย์ให้รักษาคุณความดี รักษาวิทยาการสืบเนื่องไปด้วยดี ทั้งยังจูงใจให้เป็นผู้มีนิสัยอ่อนโยนไม่แข็งกระด้าง

โขนหน้าจอ

ในช่วงระยะเวลา ที่เป็นลักษณะหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่าง การแสดงหนังใหญ่ จะเปลี่ยนมาแสดงโขนนั้นได้ มีการแสดง”หนังติดตัวโขน” เกิดขึ้น เป็นการแสดงโขน แทรกเข้าไป ในการแสดง หนังใหญ่ เป็นบางตอน เลือกเอาเฉพาะตอนที่สำคัญ ๆ เพื่อการแสดงลีลา กระบวนรำที่สวยงาม

โขนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

โขนในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งได้เป็น ๓ ยุค คือ ยุคที่ ๑ เป็นโขน ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุคที่ ๒ เป็นโขน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุคที่ ๓ เป็นโขน ในสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง

โขนโรงใน

ในเวลาที่มีการแสดง โขนหน้าจอนั้น ในพระราชวัง ก็มีการแสดงละคร ในอยู่ก่อน แล้ว เมื่อราษฎร สามารถแสดง ละครในได้ โขนจึงรับเอา ศิลปะการแสดง แบบละครในเข้ามา แสดงในโขนด้วย เช่น นำการขับร้อง เพลง ตามแบบละครมาขับร้อง แทรกไปกับการพากย์เจรจา

โขนนั่งราว

โขนนั่งราวหรือโขนโรงนอกพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชาธิบาย เกี่ยวกับโขนนั่งราวว่า “ในงาน มหรสพหลวง อย่างที่เคยมี ในงานพระเมรุ หรืองานฉลองวัด เป็นต้น คือ ที่เรียกตาม ปากตลาดว่า โขนนั่งราว”

โขนชักรอก

โขนชักรอก นับเป็นวิวัฒนาการ ของการแสดงโขน อีกชนิดหนึ่ง ซึ่งไม่ค่อยมีผู้เขียนไว้ เป็นหลักฐาน โขนชักรอก คือ การแสดงโขน ที่ชักรอกตัวโขน ให้ลอยขึ้นไปจากพื้นเวที มีทั้งแบบโขนฉาก และโขน หน้าจอ โขนชักรอกที่แสดงแบบโขนฉาก มีกำเนิดตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

โขนฉาก

การแสดงโขนโรงใน ที่มีโรงสำหรับการแสดง และมีม่านกั้น ทางด้านหลัง อย่างละครใน เป็นโขนที่ได้ รับความนิยม จากผู้ชมมาก เพราะได้ชมทั้งศิลปะ การเต้นอย่างโขน และชมกระบวน การรำฟังเพลง ร้องอย่างละครใน

โขนกลางแปลง

คือ การแสดงโขน บนพื้นดินกลางสนามหญ้า ไม่ต้องปลูกโรงให้เล่น ปัจจุบันหาดูได้ยาก กรมศิลปากร เคยจัดแสดง โขนกลางแปลง ณ พระราชอุทยาน รัชกาลที่ ๒ จังหวัดสมุทรสงคราม ในโอกาสพิเศษ วันพระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ท่าเตียน

เรื่องราวการต่อสู้ของยักษ์วัดแจ้งและยักษ์วัดโพธิ์ ซึ่งเป็นเหตุให้บริเวณที่สู้รบกันเกิดเพลิงไหม้วอดวายราบเลี่ยนเตียนโล่ง อันเป็นสาเหตุให้ย่านนั้นมีนามว่า “ท่าเตียน” โดยเล่าเรื่องผ่านคำบอกเล่าของ “ผีบ้า” ที่อาศัยอยู่บริเวณตลาดหลังวัดโพธิ์ ในแผ่นดินรัชการที่สี่

พิภพมัจจุ เกย์

ละครเวทีเบาสมองนำเสนอเส้นทางชีวิตของชาวเพศที่สามที่ต้องทนทุกข์อยู่กับความผิดหวังซ้ำแล้วซ้ำเล่า ในที่สุดพวกเขา-เธอก็ค้นพบว่าการฆ่าตัวตายมิใช่ทางแก้ปัญหา หากเป็นวังวนแห่งความทุกข์ที่ไม่มีวันจบสิ้น

Pippin

ติดตามเจ้าชายปิ๊บปิ้น รัชทายาทของกษัตริย์ชาลเลอเมน แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเพิ่งสำเร็จการศึกษาสรรพวิทยาการมามาดๆ และมีความปรารถนาอันแรงกล้าที่จะค้นพบความพิเศษเหนือใครของตนเอง เขาออกเดินทางค้นหาความพิเศษอันนั้นด้วยหวังว่ามันจะมาเติมเต็มให้ชีวิตของเขาสมบูรณ์ขึ้น

Install

ถ้าคุณเคยเบื่อหน่ายกับการไปโรงเรียน คุณก็คงเข้าใจดีว่า “ อาซาโกะ ” กำลังคิดอะไรอยู่ เมื่อสาวน้อยไฮสคูลอย่างเธอ ตัดสินใจขาดเรียนนานกว่า 4 สัปดาห์ โดยได้รับการช่วยเหลือ จากเพื่อนสนิท ชื่อ “ โคอิจิ ” ซึ่งเป็นกิ๊กหนุ่มของครูประจำชั้น ให้ช่วยทำให้เธอขาดเรียนได้โดยไม่ต้องเสียคะแนน และปกปิดเรื่องนี้เป็นความลับจากแม่ที่ทั้งดุ จู้จี้ และไม่เคยคิดถึงจิตใจคนอื่นของเธอ

เราจ่ายไม่ไหว เราไม่จ่าย

ละครที่เสียดสีสังคมบริโภคทุกยุคสมัยได้อย่างสะใจ โดย กรกช อัตตวิริยะนุภาพ ในสภาพสังคมที่ผู้บริโภคตกเป็นเหยื่อของระบบทุนนิยม ระบบแข่งขันกันทางธุรกิจ ที่ทำให้ราคาสินค้าต่างๆ ถีบตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ คงมีคนจำนวนไม่น้อยที่บ่นว่า “ เราจ่ายไม่ไหวแล้ว ” และถ้าเกิดว่าความรู้สึกอึดอัดขัดสนนี้สั่งสมเพิ่มขึ้นมากเรื่อยๆ จนผู้คนเหล่านี้ประกาศออกมาว่า “ เราไม่จ่ายหรอก เราไม่จ่าย ” แล้วอะไรจะเกิดขึ้นได้บ้าง

คำกล่าวหาจากศาลาทวงศพ

คำกล่าวหาจากศาลาทวงศพ โดย เจตนา นาควัชระ การแสดงละครเรื่อง นายซวยตลอดศก โดย “ กลุ่มมะขามป้อม ” ณ ลานไทรริมน้ำ สวนสันติชัยปราการ บางลำพู เป็นส่วนหนึ่งของมหกรรมละครเวทีที่นักแสดงร่วม 40 กลุ่มร่วมใจกันจัดขึ้นเป็นครั้งแรก และผมได้ไปชมเมื่อคืนวันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2545

ราชินีแห่งสีสัน

“ ราชินีแห่งสีสัน ” กับการตีความใหม่ เมื่อตัวละครที่เป็น “ หุ่น ” เป็นผู้เดียวที่มีสิทธิ์สั่งการ โดย กรกช อัตตวิริยะนุภาพ เมื่อผู้เขียนได้เห็นรายการว่าจะมีการแสดงละครเรื่อง “ ราชินีแห่งสีสัน ” ที่กรุงเบิร์นในงานเทศกาลละครหุ่นและวัสดุครั้งที่ 5 (Figuren- und Objekttheatertage) เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม – 10 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา

ว่าด้วยพันธนาการของสัจนิยม

ว่าด้วยพันธนาการของสัจนิยม  โดยเจตนา นาควัชระ สิบกว่าปีมาแล้วที่ผมเขียนบทวิจารณ์ละครเวทีโดยใช้ชื่อว่า ” พันธนาการของสัจนิยม ” ( รวมเล่มไว้ใน ครุ่นคิดพินิจนึก หน้า 183-189) ผมเองก็ไม่ได้คิดว่าประเด็นดังกล่าวจะกลายมาเป็นปัญหาหลักของวงการละครของไทยไปได้ แต่ปรากฏการณ์ล่าสุดที่ทำให้ผมต้องหวนกลับมาพิจารณาและอภิปรายประเด็นดังกล่าวนี้ซ้ำอีก

สวัสดี ละครใน

โดยสมภพ จันทรประภา เมื่อได้ยินว่ากรมศิลปากรเล่นละคอนในเรื่องอิเหนาก็ดีใจ เพราะอยากจะดูอีกสักหนว่า ละคอนในนั้นเป็นอย่างไร ครั้งสุดท้ายที่ได้ดูมันนานเต็มทีถึง 37 ปี จำอะไรไม่ได้เลยนอกจากว่า อิเหนาแต่งตัวช้าเหลือเกินกว่าจะอาบน้ำผลัดผ้าเสร็จก็ง่วงแทบตาย

จิตวิทยาสังคม จากการแสดงละครใน ตอนศึกกะหมังกุหนิง

จิตวิทยาสังคม จากการแสดงละครใน ตอนศึกกะหมังกุหนิง โดยม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ เนื่องในการฉลองการครบสองศตวรรษแห่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งเรามักเรียกกันเพื่อความสะดวกว่า รัชกาลที่ 2 กรมศิลปากรหรืออีกนัยหนึ่งโรงเรียนนาฏศิลป์ ได้แสดงละคร โดยใช้พระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

ข้อยกเว้นและกฎเกณฑ์ ละครเบรคชท์กับสังคมไทย

โดยเจตนา นาควัชระ ผู้เขียนได้เคยกล่าวถึงวรรณกรรมการละครเรื่อง ข้อยกเว้นและกฎเกณฑ์1 ของแบร์ทอลท์ เบรคชท์ (Bertolt Brecht) ไว้โดยย่อในหนังสือ ทฤษฎีเบื้องต้นแห่งวรรณคดี ว่าเป็นบทละครที่เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องของการสร้างและทำลายความเป็น “มายา” ของงานศิลปะ

อีดิปุสจอมราชันย์ ความเป็นอื่นของปุราณคติตะวันตก

การจัดแสดงละครกรีกโบราณเรื่อง อีดิปุสจอมราชันย์ ของ ซอเฟอคลีส* จัดได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของวงการละครพูดตะวันตกในประเทศไทย ผู้จัดแสดง คือ ภาควิชาศิลปะการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พิสูจน์ให้เห็นประจักษ์แล้วว่า ศิลปะที่ยิ่งใหญ่ย่อมไม่ผูกติดอยู่กับกาลเวลาและสถานที่