Category: Visual Art Review & Article

การอุทิศตนต่อศิลปะ

การอุทิศตนต่อศิลปะ:ราชบัณฑิตและอุดมการณ์ในอาณาจักรไรช์ที่สามคนเหล่านี้คือจิตวิญญาณแห่งความจริงใจ โดย เอียน บูราม่า ข้อความที่มักจะปรากฏในคำไว้อาลัยงานศพของศิลปินผู้ยิ่งใหญ่คือข้อความที่ว่าเขาหรือเธอ ” ใช้ชีวิตทั้งชีวิตเพื่องานศิลปะของตนเอง”

พิพิธภัณฑ์ศิลปะและพิธีกรรมภาคประชาชน

พิพิธภัณฑ์ศิลปะและพิธีกรรมภาคประชาชน โดย คารอล ดันแคน การปฏิวัติฝรั่งเศสได้ก่อให้เกิดพิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่ขึ้นเป็นครั้งแรกคือ เมื่อครั้งที่ก่อตั้งพระราชวังลูฟร์ขึ้นเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งชาตินั่นเอง การดัดแปลงพระราชวังเก่ามาเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสถือเป็นวาระทางการเมืองครั้งหนึ่งในยุคนั้น

ทำไมถึงปลอม โดย มาร์ค โจนส

ของปลอม ? เป็นชื่อนิทรรศการที่เกี่ยวกับการหลอกลวง หรือเกี่ยวข้องกับวัตถุที่เป็นหลักฐานจำนวนมากมายมหาศาลที่คนทำขึ้นมาตบตาเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเองมากกว่า 3 พันปีแล้ว นิทรรศการนี้คือการบันทึกความบกพร่องของมนุษย์ และกลอุบายของผู้ที่ทำของปลอม รวมทั้งการหลงเชื่อง่ายๆของผู้ที่ถูกหลอก

การวิเคราะห์เชิงวิจารณ์

การวิเคราะห์เชิงวิจารณ์รูปแบบและสัญลักษณ์ของอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในแง่ศิลปะโดยพิจารณาเน้นที่ภาพรูปจำหลักโดยรอบของปีกทั้งสี่ของอนุสาวรีย์ โดย เเจนนิส วงศ์สุรวัฒน์

อนุสาวรีย์ที่ไทยทำ

  อนุสาวรีย์ที่ไทยทำ โดย แสงอรุณ รัตกสิกร สมัยนี้เป็นสมัยของการทำอนุสาวรีย์ เป็นสมัยที่ทุกจังหวัดพยายามที่สุดที่จะหาเงินสร้างรูปบุคคลสำคัญไว้ในจังหวัดของตนให้ได้อย่างน้อยสักรูป และผู้รับเหมาการออกแบบแต่ผู้เดียวคือ กรมศิลปากร ท่านจะทำอะไรออกมา ดี-เลว อย่างไรก็ดูเหมือนจะไม่มีใครค้านได้ ยอมรับเอาโดยดุษฎี

ทาดาโอะ อันโด สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม ธรรมชาติและความหมาย

ทาดาโอะ อันโด สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม ธรรมชาติและความหมาย โดย ชัยยศ อิษฎ์วรพันธุ์ โดยทั่วไปงานสถาปัตยกรรมของทาดาโอะ อันโด ( Tadao Ando) จะถูกรับรู้ถึงคุณภาพในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างสถาปัตยกรรมกับธรรมชาติอยู่เสมอ นอกจากคอนกรีตเปลือยผิวที่มีลักษณะเฉพาะตัวเห็นได้ชัดแล้ว แสงสว่างที่ส่องผ่านเข้ามาในอาคารในแบบต่างๆ ก็เป็นเรื่องที่ได้รับการชื่นชม

ศิลปกรรมชาวบ้าน

ศิลปกรรมชาวบ้านการสำรวจและการวิจารณ์อย่างย่อ โดย แสงอรุณ รัตกสิกร สิ่งที่คนในศตวรรษที่ 20 ค้นพบว่าเป็นงานศิลปะที่มีค่าและยกย่อง ได้แก่ศิลปะของชนอนารยะ ( Primitive Art) งานศิลปกรรมของคนเยาว์วัย ( Children’s Art) และงานศิลปกรรมชาวบ้าน ( Folk Art)

รอบ ๆ ราวๆ P[ee] A[rse] S[hit] S[tory]

รอบ ๆ ราวๆ P[ee] A[rse] S[hit] S[tory] โดย ธเนศ วงศ์ยานนาวา About Cafe ให้ความหมายว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ “ร้านกาแฟ” ในอีกแง่หนึ่งก็เป็นเรื่องราว “รอบๆ” หรือ “ราวๆ” ร้านกาแฟ โดยสิ่งที่อยู่รอบๆนั้นก็เป็นการแสดงศิลปะ นอกจากนี้กาแฟก็ไม่สามารถทำให้คนอิ่มท้องได้โดยไม่มีอาหาร

Camera Lucida

Camera Lucida โดย โรลองด์ บาร์ธส์ ว่าด้วยการวาดภาพ … มนุษย์คนแรกที่เห็นภาพถ่ายภาพแรก (ถ้าเรายกเว้น นีพส์ Niepc?1 ที่เป็นคนทำมันขึ้นมา) คงต้องคิดว่ามันเป็นงานจิตรกรรมภาพหนึ่ง กรอบก็เหมือนกัน มุมมองก็เหมือนกัน

การถ่ายภาพ จริยธรรม และเบเนตอง

การถ่ายภาพ จริยธรรม และเบเนตอง โดย ทิบอร์ คาลมาน ไม่นานมานี้ฉันได้ทำหน้าที่บรรณาธิการนิตยสาร Colors ที่แพร่หลายระดับนานาชาติ ซึ่งเบเนตอง Benetton เป็นผู้อุปถัมภ์ด้านทุน มันเป็นนิตยสารที่ใช้ภาษาอังกฤษจับคู่กับหลายภาษา เช่น ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน และเกาหลี

กล้องถ่ายภาพไม่เคยโกหก (มาก)

กล้องถ่ายภาพไม่เคยโกหก (มาก)จุดโฟกัสที่ไม่ชัด – การถ่ายและการอนุมานความจริง โดย คีทธ์ มิลเลอร์ ฟิวเจอริสม์ Futurism เป็นแนวคิดสายหนึ่งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับพวกหัวก้าวหน้า avant-garde ในศตวรรษที่ 20 ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่างยิ่งกับการถ่ายภาพทั้งในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการแสดงออก และเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล

ข้อเขียนเรื่องศิลปะแนวคอนเซ็ปท์ชวล

ข้อเขียนเรื่องศิลปะแนวคอนเซ็ปท์ชวล โดย โซล เลวิทท์ บรรณาธิการผู้หนึ่งได้เขียนถึงฉันว่า เขาเห็นพ้องด้วยที่จะหลีกเลี่ยงความคิดที่ว่า ” ศิลปินเป็นลิงชนิดหนึ่งที่ต้องได้รับการอธิบายจากนักวิจารณ์ผู้เจริญแล้ว”

วิดีโออาร์ต เหล้าเก่าในขวดใหม่

Visual arts – วิดีโออาร์ต : เหล้าเก่าในขวดใหม่ โดย อาลัน คาพโรพ โดยทั่วไปแล้วมีความเห็นกันว่า การใช้โทรทัศน์มาเป็นสื่อในทางศิลปะเป็นการทดลอง และด้วยเหตุผลที่ว่าศิลปินไม่ได้คิดกันแบบนี้ก่อนต้นทศวรรษที่ 60 ดังนั้นมันจึงควรได้รับการยอมรับว่าเป็นนวัตกรรมใหม่

He is the Most Beautiful

Visual arts – He is the Most Beautiful Lady II ของ จักรพรรดิ์ รัตนจันทร์ คุณอาจเคยเห็นความงดงามระทดระทวยของสตรีเพศหรือกายกำยำของบุรุษมาแล้วนับครั้งไม่ถ้วนในงานศิลปะหลากแขนง เพราะมนุษย์เลือกที่จะถ่ายทอด ‘ด้าน’ ที่งดงามและคุ้นเคยเหล่านั้น ตั้งแต่ก้าวแรกที่รู้จักกับศิลปะ

พื้นที่ทางจิตวิญญาณ

พื้นที่ทางจิตวิญญาณ บนรากฐานของสังคมไทย สู่การไม่พยายามเป็น “อะไร” ในศิลปะร่วมสมัย เรื่องโดย วิภาช ภูริชานนท์ และ สุรกานต์ โตสมบุญ

การหดตัวเข้าสู่กระดอง

การหดตัวเข้าสู่กระดอง: เมือง (สมัย) ใหม่ กับการหมุนกลับเข้าสู่พื้นที่และความทรงจำในโลกศิลปะ เรื่องโดย :วิภาช ภูริชานนท์ และ สุรกานต์ โตสมบุญ